1  

ส่วนป้องกันและบำบัดโรคสัตว์ สำนักสุขศาสตร์สัตว์และสุขอนามัยที่ 9 กรมปศุสัตว์


ข้อมูลเชิงปริมาณของไวรัส


ปริมาณไวรัสที่ตัวป่วยขับออก

ตารางที่ 3 ปริมาณไวรัสในเนื้อเยื่อ สิ่งคัดหลั่ง และสิ่งขับถ่ายของ โค, สุกร และ แกะ ที่มา: Sellers, 1971

  สัตว์  แหล่งไวรัส  ความเข้มข้นสูงสุด
ของไวรัส
 ปริมาณไวรัสทั้งหมด*
(log10IU)
 โค เลือด 30 ลิตร 5.6 /ml 10.1
เยื่อบุลิ้น 100 กรัม 9.0 /g 11.0
ตับ 5.5 กก. 3.6 /g 7.3
น้ำนมต่อวัน 15 ลิตร 5.5 /ml 9.7
ปัสสาวะต่อวัน 8.8-22 ลิตร 4.9 /ml 9.7
อุจจาระต่อวัน 15-45 กก. 5.5 /g 9.7-10.2
ลมหายใจต่อวัน 3.7 /30 นาที 5.4
สุกร เลือด 2.5 ลิตร 7.2 /ml 10.6
เยื่อบุผิวกีบเท้า 10 กรัม 9.6 /g 10.6
ตับ 2 กก. 6.1 /g 8.9
ปัสสาวะต่อวัน 0.25-1.5 ลิตร ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
อุจจาระต่อวัน 0.5-3 กก. 2.9 /g 5.6-6.4
ลมหายใจต่อวัน 6.3 /30 นาที 8.0
แกะ เลือด 1.5 ลิตร 105.0 /ml 8.2
ตับ 700 กรัม ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
ปัสสาวะต่อวัน 0.7-3 ลิตร ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
อุจจาระต่อวัน 0.5-3 กก. 2.7 /g 6.2
ลมหายใจต่อวัน 3.7 /30 นาที 5.4

* หน่วยวัดปริมาณไวรัสคือ log10 infectious unit (IU) โดย 1 IU=1.4 TCID50 (tissue culture infectious dose) คือปริมาณไวรัสที่ทำให้เซลเพาะเลี้ยงครึ่งหนึ่งเกิดติดเชื้อ

ตารางที่ 4 ปริมาณไวรัส FMD ที่ถูกขับออก ( log10IU ต่อนาที) ที่มา : AUSVETPLAN, 2000

ซีโรไทป์ ปริมาณไวรัส ( log10IU/นาที)
โค แกะ สุกร
O1 1.8 1.6 3.9
O2 0.6 0.1 3.2
A5 1.9 < 0 2.8
A22 0.8 < 0 2.3


ระยะเวลาขับไวรัส




ปริมาณไวรัสที่ใช้ในการก่อโรค

ไวรัส FMD มีปริมาณไม่เท่ากันในการก่อโรคในสัตว์ชนิดต่าง ๆ (infectious dose) ทั้งนี้ขึ้นกับช่องทางที่ได้รับเชื้อด้วย

ตารางที่ 5 ปริมาณขั้นต่ำของไวรัส FMD ในการก่อโรค ที่มา: ดัดแปลงจาก Gale,2002; AVIS, 2002

สัตว์ ทางลมหายใจ* ทางการกิน*
โค 1.1-2.6 5.8
สุกร 4.1-5.6 6.0
แพะ 1-3 ไม่มีข้อมูล
แกะ 1.1-2.6 5.8

*log10IU

ตารางที่ 6 ปริมาณไวรัสที่ใช้ในการก่อโรค เปรียบเทียบระหว่างซีโรไทป์ ที่มา: AVIS, 2002

สัตว์ วิธี ซีโรไทป์ ปริมาณ* อัตราส่วนตัวป่วย
โค หายใจ O1 1.0 1/1
    A 2.0 2/6
    A 4.0 2/2
  กิน O1 6.5 0/6
สุกร หายใจ O 6.4 0/3
  กิน O38 5.2 1/5
แกะ หายใจ O 4.0 3/4
  A 4.0 3/4
  กิน ไม่มีข้อมูล

*log10IU

การอยู่รอดของไวรัสนอกตัวสัตว์

ตารางที่ 7 ระยะเวลามีชีวิตของไวรัส FMD ที่ pH ต่างๆ ที่มา : AVIS, 2002

pH ระยะเวลามีชีวิต
2 1
4 2 นาที
5.5 30 นาที
5.8 18 ชั่วโมง
11 2 ชั่วโมง
12 2.5 นาที
13 2.5 นาที


ตารางที่ 8 ระยะเวลามีชีวิตของไวรัส FMD ที่อุณหภูมิต่าง ๆ ที่มา : AVIS, 2002

อุณหภูมิ ระยะเวลามีชีวิต
4 ° C 1 ปี
22 ° C 8-10 สัปดาห์
37 ° C 10 วัน
56 ° C < 30 นาที


ตารางที่ 9 ระยะเวลามีชีวิตของไวรัส FMD ในสิ่งขับถ่ายจากตัวสัตว์ ที่มา : AUSVETPLAN, 2000

สภาพ ระยะเวลามีชีวิต
  ในกองสิ่งปฏิกูลแห้ง 14 วัน
  ในกองสิ่งปฏิกูลเปียก 8 วัน
  ใต้กองสิ่งปฏิกูล 30 ซม. < 6 วัน
  สิ่งปฏิกูลเหลว ที่ 12-22 ° C 34-42 วัน
  น้ำล้างคอก ที่ 17-21 ° C 21 วัน

ตารางที่ 10 ระยะเวลามีชีวิตของไวรัส FMD ในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่มา: AUSVETPLAN, 2000; AVIS, 2002

สภาพ ระยะเวลามีชีวิต
  ในมูลสัตว์แห้ง 14 วัน
  บนแผ่นไม้กระดาน โลหะที่ปนเปื้อนซีรัม เลือด เนื้อเยื่อ 35 วัน
  ในปัสสาวะ 39 วัน
  ในน้ำ 50 วัน
  ในแปลงหญ้า ที่ 8-18 ° C และความชื้นสัมพัทธ์สูง 6 เดือน
  ในดิน กระสอบป่าน หญ้าแห้ง ฟางแห้ง (ขึ้นกับการเก็บและสภาพอากาศ) 26-200 วัน


การอยู่รอดของไวรัสในผลิตภัณฑ์จากสัตว์

ในเนื้อ

ตารางที่ 11 ช่วงเวลามีชีวิตของไวรัส FMD ในผลิตภัณฑ์สุกร ที่มา : Gale, 2002

สภาพ ผลิตภัณฑ์สุกร ระยะเวลามีชีวิต
  แช่เย็น (chilled) ปอด กระเพาะ ลิ้น ลำไส้ 30 วัน
ม้าม ตับ ไต 24 ชม.
  แช่แข็ง (frozen) ปอด ลำไส้ กระเพาะ ลิ้น ไต ม้าม ตับ 210 วัน
  อุณหภูมิห้อง ลิ้น 10 วัน
กล้ามเนื้อ 1 วัน

ในน้ำนม

ตารางที่ 12 ผลความร้อนที่ใช้ในการฆ่าเชื้อน้ำนมต่อไวรัส FMD ที่มา : AUSVETPLAN, 1996; AVIS, 2002

วิธีการ ผลต่อไวรัส FMD
  พาสเจอไรซ์ 61-65° C 30 นาที พบไวรัสมีชีวิตรอด
  พาสเจอไรซ์ 72-95° C 15-17 วินาที พบไวรัสมีชีวิตรอด
  ต้ม 65° C 1 ชั่วโมง พบไวรัสมีชีวิตรอด
  ต้ม 100-138° C 2-3 วินาที พบไวรัสมีชีวิตรอด
  ต้ม 148° C 2-3 วินาที ไม่พบไวรัส ทดสอบโดยการฉีดเข้าสัตว์ทดลอง

ผลของความร้อนในการประกอบอาหาร

ตารางที่ 13 ระยะเวลามีชีวิตของไวรัส FMD ในผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์ภายหลังการประกอบอาหาร ที่มา : Gale, 2002

ผลิตภัณฑ์ อุณหภูมิประกอบอาหาร ผลต่อไวรัส FMD
  เลือด 55° C 20 นาที และ 60° C 2 นาที ไวรัสหมดฤทธิ์
  เนื้อสับ 68-79° C ไวรัสหมดฤทธิ์
  หัวใจ ต้องการอุณหภูมิใจกลางที่ 93° C ไวรัสหมดฤทธิ์
  ทั่วไป ต้องการ 80-100° C 2-3 นาที หรือ 70° C 25 นาที ไวรัสหมดฤทธิ์

ในขนและหนัง

มีรายงานการมีชีวิตรอดของไวรัสในขน, หนัง (AUSVETPLAN, 2000)