เวลา |
เหตุการณ์ |
พ.ศ.๒๔๑๑ |
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) เสด็จขึ้นครองราชย์ |
พ.ศ.๒๔๑๙ |
พระราชบัญญัติโคกระบือ |
พ.ศ.๒๔๒๔ |
สมโภชพระนครครบ ๑๐๐ ปี |
พ.ศ.๒๔๒๖ |
เรื่องผู้ร้ายลักโคกระบือ |
พ.ศ.๒๔๓๑ |
เรื่องป้องกันผู้ลักฆ่าโคกระบือ |
พ.ศ.๒๔๓๖ |
ไทยเสียเนื้อที่ประมาณ ๕๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร ให้แก่ฝรั่งเศส |
พ.ศ.๒๔๔๓ |
พระราชบัญญัติลักษณฆ่าโคกระบือแลสุกรตามหัวเมือง |
พ.ศ.๒๔๔๓ |
พระราชบัญญัติสำหรับตรวจป้องกันโรคสัตว์พาหนะ รัตนโกสินทร ศก ๑๑๙ |
พ.ศ.๒๔๔๓ |
พระราชบัญญัติสัตว์พาหนะ รัตนโกสินทร ศก ๑๑๙ |
พ.ศ.๒๔๔๘ |
ตราพระราชบัญญัติทาส รัตนโกสินทร ศก ๑๒๔ |
พ.ศ.๒๔๕๓
|
มีการแสดงกสิกรรมและพาณิชยกรรมครั้งแรก |
พ.ศ.๒๔๕๓ |
พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) เสด็จขึ้นครองราชย์ |
พ.ศ. ๒๔๖๐ |
ประกาศสงครามกับเยอรมัน ออสเตรีย ฮังการี ในสงครามโลกครั้งที่ ๑ |
พ.ศ. ๒๔๖๑ |
กฏเสนาบดีกระทรวงนครบาลว่าด้วยข้อบังคับโรงฆ่าสัตว์ |
พ.ศ.๒๔๖๘ |
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 7)
เสด็จขึ้นครองราชย์ |
พ.ศ.๒๔๖๙ |
ดุลย์ข้าราชการครั้งใหญ่คราวแรก เนื่องจากเศรษฐกิจตกต่ำ |
พ.ศ.๒๔๗๒ |
อเลคซานเดอร์ เฟลมมิ่ง ค้นพบเพนนิซิลินในปี ค.ศ.๑๙๒๙ |
พ.ศ.๒๔๗๔ |
เกิดเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ |
พ.ศ.๒๔๗๔ |
ตราพระราชบัญญัติโรคระบาดปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ |
พ.ศ.๒๔๗๔ |
ตราพระราชบัญญัติสำหรับตรวจป้องกันโรคสัตว์พาหนะ แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ |
พ.ศ. ๒๔๗๕ |
คณะราษฎรเปลี่ยนแปลงการปกครอง |
พ.ศ.๒๔๗๗ |
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ ๘)
เสด็จขึ้นครองราชย์ |
พ.ศ.๒๔๘๔ |
ญี่ปุ่นส่งกำลังเข้าประเทศไทย |
พ.ศ.๒๔๘๕ |
ได้มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง กรมปศุสัตว์และสัตว์พาหนะ สังกัดกระทรวงเกษตราธิการ |
พ.ศ.๒๔๘๘ |
สงครามโลกครั้งที่ ๒ สงบ |
พ.ศ.๒๔๘๙ |
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ ๙) เสด็จขึ้นครองราชย์ |
พ.ศ.๒๔๘๒ |
ตราพระราชบัญญัติสัตว์พาหนะ พ.ศ.๒๔๘๒ |
พ.ศ.๒๕๐๒ |
ตราพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าและำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ.๒๕๐๒ |
พ.ศ. ๒๔๙๙ |
ตราพระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ.๒๔๙๙ |
พ.ศ.๒๕๓๕ |
ตราพระราชบัญญัติควบคุมการฆ่าและจำำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ.๒๕๓๕ |